วันอาทิตย์ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2551
MoN aMour!!
วันอังคารที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551
La NOuvelle
L'opposition, menée par Raila Odinga –- ici, le 13 janvier 2008
à Nairobi –, continue de rappeler la remise en question
de la réélection du président Mwai Kibaki.
Après quelques jours de calme, l'embrasement post-électoral menace à nouveau au Kenya. Alors que l'opposition, menée par Raila Odinga, continue de rappeler que les graves irrégularités au moment du décompte des voix, dans les jours suivant le scrutin du 27 décembre, remettent en question la réélection du président Mwai Kibaki, le camp de ce dernier reste sur une position inverse.
Les efforts des médiateurs divers au cours de la semaine écoulée pour amener les deux rivaux à discuter d'un partage du pouvoir n'ont eu aucun effet. Le président Kibaki a déjà nommé la majeure partie des ministres d'un gouvernement d'ouverture mort-né, alors que le pouvoir, comme l'opposition, semble se préparer à des affrontements.
Dès la proclamation des résultats contestés, le 30 décembre 2007, des émeutes avaient éclaté à travers le pays, entraînant une série de violences, policières ou civiles, dont le bilan a été revu une nouvelle fois à la hausse par un comité spécial du gouvernement et s'établit à 612morts.
Mardi 15 janvier, pouvoir et opposition devaient ouvrir un nouveau cycle de confrontations en se retrouvant au Parlement pour l'ouverture de la session parlementaire. Le Mouvement démocratique orange (ODM) de Raila Odinga, théoriquement, aurait pu y déplacer son combat, grâce à ses 99 députés, contre 43 pour le camp présidentiel, le Parti de l'unité nationale (PNU).
===================================================================
''เคนยาเดือดม็อบฝ่ายค้านตายนับร้อย "
เลือกตั้งนองเลือดชิงตำแหน่งประธานาธิบดีในประเทศเคนยาโดนนานาชาติจวกยับไม่โปร่งใส เพราะเหตุรุนแรงสังหารม็อบต่อต้านฝีมือตำรวจ ระบุยอดผู้เสียชีวิตเกิน 150 ศพแล้ว ในขณะที่ผู้นำฝ่ายค้านสู้ไม่ถอยนัดชุมนุมผู้สนับสนุนนับล้านคนในวันพฤหัสบดีนี้อีกจนหวั่นเหตุนองเลือดซ้ำสอง สำนักข่าวรอยเตอร์รายงานจากกรุงไนโรบีประเทศเคนยาเมื่อวันที่ 1 ม.ค. แจ้งว่า ยอดผู้เสียชีวิตจากเหตุรุนแรงในประเทศและการก่อจลาจลเพราะไม่เห็นด้วยกับผลการเลือกตั้งชิงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งเคนยา ได้ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง แม้ประธานาธิบดีเอ็มวาอิ คิบากิ วัย 76 ปี จะได้รับการประกาศให้เป็นผู้ชนะการเลือกตั้งและสาบานตนเข้ารับตำแหน่งสมัยที่ 2 วาระ 5 ปี เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยเหตุรุนแรงนั้นเกิดขึ้นจากกลุ่มผู้สนับสนุนผู้นำฝ่ายค้าน นายไรลา โอดิงกา ได้เข้าปะทะกับกำลังเจ้าหน้าที่ตำรวจ พร้อมกับทำการปล้นสะดมสิ่งของจากร้านค้าที่เป็นของชนเผ่าคิคูยูเผ่าเดียวกับประธานาธิบดีคิบากิ ส่งผลให้ธุรกิจในประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในแอฟริกาต้องประสบปัญหาชะงักงัน ร้านค้าต้องปิดกิจการเช่นเดียวกับสถานบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
อย่างไรก็ตาม กำลังตำรวจพร้อมอาวุธเต็มอัตราศึกยังคงปฏิบัติหน้าที่ตรวจลาดตระเวนไปตามท้องถนนในกรุงไนโรบี เพราะได้รับคำสั่งจากประธานาธิบดีคิบากิให้จัดการกับผู้ก่อปัญหาวุ่นวายในประเทศได้ทันที ซึ่งผู้เสียชีวิตส่วนใหญ่จากเหตุวุ่นวายนั้นก็มาจากการยิงต่อสู้ของตำรวจกับกลุ่มผู้ชุมนุมประท้วง ก่อให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์ประเทศเคนยาว่ากระทำตัวเป็นรัฐตำรวจ ส่วนตัวเลขผู้เสียชีวิตนั้นทางสภากาชาดไทยแจ้งว่า จนถึงเที่ยงคืนวันจันทร์ที่ผ่านมา มีผู้เสียชีวิตแล้ว 120 ศพ และคาดว่าตัวเลขอาจจะสูงกว่านี้ ขณะที่หนังสือพิมพ์ท้องถิ่นระบุว่า มีผู้เสียชีวิต 164ศพแล้ว แต่ผู้สื่อข่าวของรอยเตอร์อ้างว่า ตัวเลขผู้เสียชีวิตอยู่ที่ประมาณ 150 ศพ โดยเจ้าหน้าที่หน่วยบรรเทาทุกข์ระบุว่า เฉพาะที่เมือง คิซูมุเมืองเดียว พบศพผู้เสียชีวิตถูกนำมาเก็บไว้ที่ห้องเก็บศพถึง 100 ศพ สภาพศพส่วนใหญ่ถูกยิงเสียชีวิต ด้านผู้สังเกตการณ์การเลือกตั้งจากนานาชาติในตอนแรกนั้นก็ได้ชื่นชมการเลือกตั้ง ครั้งนี้ว่าจะเป็นแบบอย่างที่ดีสำหรับประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคเดียวกันนี้ แต่ภายหลังได้แสดงความวิตกอย่างรุนแรงเกี่ยวกับผลการนับคะแนนและความชิงชังกับผลการเลือกตั้งที่ก่อให้เกิดเหตุรุนแรงตามมา นอกจากนั้นผู้สังเกตการณ์การเลือกตั้งจากสหภาพยุโรปหรืออียู ระบุว่า การเลือกตั้งครั้งนี้ไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล และขอให้นานาชาติร่วมกันตั้งคณะกรรมการอิสระขึ้นมาทำหน้าที่ตรวจนับคะแนนการเลือกตั้งครั้งนี้ ซึ่งทางคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติของเคนยา ก็ได้แถลงว่า การเลือกตั้งครั้งนี้มีจุดบกพร่องมากมายและขาดความน่าเชื่อถือ ด้านรัฐบาลสหรัฐแถลงว่า ความขัดแย้งจากการเลือกตั้งครั้งนี้ควรแก้ไขด้วยวิถีทางแห่งรัฐธรรมนูญและกฎหมาย ซึ่งทุกฝ่ายควรร่วมมือกันแก้ปัญหาเพื่อเลี่ยงไม่ให้เกิดความรุนแรงมากไปกว่านี้
นายบัน คี-มูน เลขาธิการสหประชาชาติ กล่าวตำหนิเหตุนองเลือดในประเทศเคนยาและอยากให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงมีความอดทนอย่างถึงที่สุดในการใช้กำลังกับกลุ่มผู้ชุมนุมประท้วง ขณะที่องค์การนิรโทษกรรมสากล เรียกร้องให้ตั้งคณะกรรมการอิสระขึ้นมาตรวจสอบการยิงผู้ชุมนุม ประท้วงจนเสียชีวิตของเจ้าหน้าที่ตำรวจเคนยา ซึ่งผลจากเหตุรุนแรงดังกล่าวทำให้มีชาวบ้านกว่า 300 คน หลบหนีข้ามเขตแดนเข้าไปในประเทศเพื่อนบ้านเช่น อูกันดา ส่วนประธานาธิบดีคิบากิได้ออกแถลงการณ์ เนื่องในวันขึ้นปีใหม่ เรียกร้องขอความสมัครสมาน สามัคคีในชาติ แต่ผู้นำฝ่ายค้านคือ นายไรลา โอดิงกา อ้างว่าตนต่างหากที่เป็นผู้ชนะการเลือกตั้งนั้น ได้เรียกร้องให้ผู้สนับสนุนนับล้านคนออกมาชุมนุมกันที่สวนสาธารณะในกรุงไนโรบีในวันพฤหัสบดีที่ 3 ม.ค. นี้ จึงเป็นที่วิตกกันโดยทั่วไปว่า เหตุนองเลือดอาจเกิดขึ้นอีก ซึ่งคนที่หวั่นเหตุร้ายก็ขออยู่แต่ภายในที่พัก และทางรัฐบาลเคนยา ย้ำว่าจะยังไม่ประกาศภาวะฉุกเฉินหรือเคอร์ฟิวในขณะนี้.
Wow...C'est Saint-Germain-des-Prés.
Un peu d'histoire...
Saint-Germain-des-Prés est depuis toujours un quartier au charme particulier dont le mystère ne cesse d'étonner et inspirer de nombreux auteurs.
C'est ainsi que Saint-Germain-des-Prés se présente comme un lieu de cohabitation singulière entre clergé et artistes, dérogeant par là à toutes les convenances de l'époque.
Mais la Révolution de 1789 sonne le glas de l'existence de la puissante abbaye bénédictine qui est détruite successivement par une explosion puis par un incendie.Pourtant la destruction de l'abbaye ne signe pas l'arrêt de mort du quartier dans lequel la vie intellectuelle et artistique sépanouit au XIXème siècle. Il apparaît, dès cette époque, que les intellectuels nourrissent un attachement particulier pour ce lieu. C'est ainsi que nombre d'artistes s'installent, qu'il s'agisse de peintres comme Delacroix , Ingres ou Manet, d'écrivains tels que Racine, Balzac ou Georges Sand mais aussi d'acteurs comme Mounet-Sully. Le quartier devient un véritable lieu de rencontres où artistes et intellectuels se plaisent à se retrouver pour de grandes discussions animées tant sur l'actualité que sur la culture.
Au cours du XXème siècle, le quartier de Saint-Germain-des-Prés reste synonyme de vie littéraire et artistique et de nombreux cafés créent leur propre cercle ou même leur prix littéraire. Le café des Deux Magots fonde le prix de Saint-Germain-des-Prés dont le premier lauréat est Raymond Queneau pour Le Chiendent. L'importance des cafés saccroît et Léon-Paul Fargue, dans Le piéton de Paris, qualifie ainsi les trois grands cafés de Saint-Germain (Le Flore, Les Deux Magots et la brasserie Lipp) de " véritables institutions aussi célèbres que des institutions d'Etat "..
Pendant la seconde guerre mondiale et alors que restrictions et couvre-feu sont à l'ordre du jour, les cafés de Saint-Germain-des-Prés sont les derniers endroits de rencontre et d'échange de la capitale occupée. Chaque jour Jean-Paul Sartre et Simone de Beauvoir arrivent dès l'aube dans l'un des trois grands cafés afin de sinstaller aux meilleures places près du poêle.
A la libération, le théâtre d'avant-garde prend son essor. Au Théâtre de Babylone sont ainsi présentées En attendant Godot de Samuel Beckett en 1953 mais aussi Amédée ou comment s'en débarrasser de Ionesco. En 1956, La machine à écrire de Cocteau est jouée au Théâtre de l'Odéon et en 1960, Rhinocéros au Théâtre Récamier.
WOW>>>>>>>>>>>>>>>>>>>
\(^_^)/~
Moi-yaiiz ^____^
Dans l’avenir, je voudrais faire partie d’une organization comme l’o.n.u parce que j’aime communiquer avec des étrangers. Par contre, si je ne le suis pas, je voudrais être professeur de français parce que j’aimerais enseigner le français à mes amis. J’adorais beaucoup cette langue. Pourtant, maintenant je dois travailler bien pour mon avenir. “Après la pluie, le beau temps.
====================================================================